ข้อคิดประจำกัณฑ์ กัณฑ์กุมาร | |
จากสระ เพื่อนำไปให้ทานแก่ชูชก |
1. ความเป็นผู้รู้จักกาลเทศะ ไม่ผลีผลามเข้าไปขอ รอจนพระมัทรีเข้าป่า จึงเข้าเฝ้าเพื่อขอสองกุมารเป็นเหตุให้ชูชกประสบผลสำเร็จในสิ่งที่ตนปรารถนา ดังภาษิตโบราณว่า “ช้าๆ จะได้พร้าเล่มงาม ด่วนได้ สามชผลีผลาม มักพลิกแพลง ’’ ฆ่าช้าเป็นการ นานเป็นคุณ รู้จักโอกาสมีมารยาท กล้าพูด กล้าหาญใจเย็น เป็นสำเร็จเพราะ “ถ้อยคำของคน ขัดความปรารถนาเป็นของคนยากเป็นโชคลาภ และเสียงเพลงของนักบุญ ’’
2. พ่อแม่ทุกคนรักลูกเหมือนกัน แต่เป็นห่วง....ไม่เท่ากัน ห่วงหญิงมากกว่าห่วงชาย เพราะท่านเปรียบไว้ว่า “ลูกผู้หญิงเหมือนข้าวสาร ลูกผู้ชายเหมือนข้าวเปลือก’’ หญิงนั่นยิ่งโตเป็นสาว ก็ยิ่งยุ่ง ยิ่งสวยก็ยิ่งยุ่ง..........! 3. สติ เ ตํ นิวารณํ สติเป็นเครื่องป้องกันอันตรายทั้งปวงได้ ขนฺติ สาหสาวารณา ขันติ ป้องกันความหุนหันพันแล่นได้เป็นเหตุให้พระเวชสันดร ไม่ปรหารชูชกด้วยพระขรรค์เมื่อถูกชูชกประณามและเฆี่ยนตี ชาลี – กัญหา ต่อเฉพาะพระพักตร 4. วิสัยหญิงนั้น แม้จะมากอยู่ด้วยเมตตากรุณา ชอบปลดเปลื้องทุกข์แก่ผู้อื่นก็จริงแต่เว้นอย่าง ที่หญิงไม่มีวันจะสละสิ่งนั้นคือ “ลูก’’! |
วันพุธที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
กัณฑ์กุมาร
ททมาโน ปิโย โหติ ผู้ให้ย่อมเป็นที่รัก
ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งหวงยิ่งอด เราไม่หวงเราไม่อด หมดเดี๋ยวก็มา
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ททมาโน ปิโยโหติ #ผู้ให้ย่อมเป็นที่รัก
ตอบลบA giver is always be love. _/|\_